Buddhist eLibrary - An Online Digitl Resource Library Home :: Login
 
 
Home About Contact Admin Choose a language
eBook Library Image Library Audio Library Video Library
 
 
พันธมิตร
Buddhist eLibrary Feature: Buddhist Studies
การเชื่อมโยง
exabytes network
Social Bookmarks
Home > ห้องสมุดหนังสือ
Top rated - ห้องสมุดหนังสือ
Buddhist_Science01.pdf
Buddhist_Science01.pdfพุทธวิทยา เล่ม 13100 viewsโดย พร รัตนสุวรรณ

เป็นหนังสือพุทธปรัชญา เชิงวิชาการฉบับพิสดารที่อธิบายความรู้และหลักธรรม ตลอดถึงแนวความคิดการตีความด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย เป็นแนวใหม่ที่จะทำให้เข้าใจหลักธรรมในพระพุทธศาสนาได้อย่างละเอียดลึกซึ้ง และถูกต้องที่สุด พร้อมทั้งหลักฐานที่มาไว้ชัดเจน ตามคัมภีร์พระไตรปิฎก
44444
(21 votes)
history_Aphidharma.pdf
history_Aphidharma.pdfตำนานพระอภิธรรม1523 viewsเรียบเรียง ธนิต อยู่โพธิ์

พระอภิธรรม เป็นธรรมละเอียดอ่อน ผ่องใส บริสุทธิ์สูงส่ง ผู้มีจักษุแปดเปื้อนขุ่นมัวด้วยละอองธุลี ยากจะหยั่งเห็น
44444
(7 votes)
Buddhist_Bioethics.pdf
Buddhist_Bioethics.pdfเกิดแก่เจ็บตาย1899 viewsโดย ศ.ดร.สมภาร พรมทา

หนังสือ "เกิดแก่เจ็บตาย" ซึ้งประพันธ์โดย ศ.ดร.สมภาร พรมทา ได้ให้ทัศนะทางชีวจริยศาสตร์ของพุทธศาสนา ซึ่งในหนังสือประกอบไปด้วย พุทธจริยศาสตร์สองระบบ จริยธรรมสำหรับบุคคล จริยธรรมสำหรับสังคม เกิดแก่เจ็บตาย และคุณค่าของชีวิตมนุษย์
44444
(5 votes)
PradyaPrayook.pdf
PradyaPrayook.pdfศาสนาปรัชญาประยุกต์2222 viewsโดย นายจำนงค์ ทองประเสริฐ

หนังสือ "ศาสนาปรัชญาประยุกต์" เล่มนี้ เกิดขึ้นเพราะแรงดลใจ ที่ผู้เขียนได้รวบรวมบทความต่างๆ ที่ตีพิมพ์กระจัดกระจายอยู่หลายแห่ง ซึ่งเรื่องที่นำมารวบรวมไว้ในหนังสือเล่มนี้ ส่วนมากได้เคยตีพิมพ์ในนิตยสาร "พุทธจักร" ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หนังสืออนุสรณ์ต่างๆ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์บ้าง จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยบ้าง ประชาศึกษาของคุรุสภาบ้าง

ในภาวะที่การเศรษฐกิจของโลกกำลังทรุดหนัก และประชาชนชาวไทย กำลังสนใจในระบบประชาธิปไตยมากขึ้นนี้ มีผู้นิยมอ่านหนังสือที่เป็นประเภทสารคดีมากยิ่งกว่าในสมัยใดๆ แสดงว่าประชาชนได้ตื่นตัวและรู้จักใช้เวลาให้เป็นประโยชน์มากยิ่งขึ้น หากช่วยกันหาสิ่งที่มีประโยชน์มาป้อนให้แก่สังคมแล้ว ก็จะทำให้ประชาชนในชาติมีความรู้ความเข้าใจโลกดีขึ้น
44444
(9 votes)
tao.pdf
tao.pdfสารนิพนธ์พุทธทาสภิกขุ ว่าด้วย "เต๋า"998 viewsกรกวี รวบรวม

เต๋า เป็นสัจจะสากลซึ่งมีอยู่ในลัทธิศาสนาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นพุทธ คริสต์ ฮินดู เพียงแต่ว่าในศาสนานั้นๆ อาจจะพูดหรือเอ่ยชื่อต่างกัน เรียกว่า นิพพาน พระเจ้าปรมาตมัน เต๋า หรือที่ท่านอาจารย์พุทธทาสเรียกรวมๆว่า ไกวัลยธรรม ก็ตาม เพราะแท้ที่จริงสิ่งเหล่านี้ ไม่ว่าจะมีชื่ออย่างไร ก็เป็นธรรมชาติ เป็นกฎธรรมชาติ ศาสดาทั้งหลายเป็นผู้ค้นพบแล้วนำมาเปิดเผย
44444
(4 votes)
Aesthetics_Spirit.pdf
Aesthetics_Spirit.pdfสรรนิพนธ์พุทธทาสภิกขุว่าด้วย ศิลปะและสุนทรียภาพทางจิตวิญญาณ1139 viewsพุทธทาสภิกขุ

ศิลปะและสุนทรียภาพ ทางจิตวิญญาณ กวีวงศ รวบรวม
44444
(4 votes)
ancient_philosophy.pdf
ancient_philosophy.pdfปรัชญาตะวันตก ปรัญากรีกโบราณ ตอนที่ 1-23340 viewsโดย พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)

หนังสือปรัชญาตะวันตก ปรัชญากรีกโบราณ ตอนที่ 1-2 นี้ ได้รอบรวมจากพุทธจักร หนังสือรายเดือนของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เมื่อครั้งผู้เขียนกำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยเดลี ประเทศอินเดีย ได้เขียนส่งมาลงในพุทธจักรเป็นตอนๆ
44444
(18 votes)
RungArun_Khong_Kansueksa.pdf
RungArun_Khong_Kansueksa.pdfรุ่งอรุณของการศึกษา703 viewsพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)

รู้จักเลือกหาแหล่งความรู้ และแบบอย่างที่ดี
มีชีวิต และอยู่ร่วมสังคมเป็นระเบียบด้วยวินัย
พร้อมแรงจูงใจใฝ่รู้ใฝ่สร้างสรรค์
มุ่งมั่นพัฒนาตนให้เต็มศักยภาพ
ปรับทัศนคติ และค่านิยมให้สมแนวเหตุผล
มีสติกระตือรือร้นตื่นตัวทุกเวลา
แก้ปัญหา และพึ่งพาตนได้ด้วยความรู้คิด
44444
(3 votes)
Dead.pdf
Dead.pdfดับไม่เหลือ: ตายเสร็จสิ้นแล้วในตัวแต่หัวที954 viewsโดยพระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาส อินฺทปญฺโญ)

หนังสือเล่มนี้ เรียบเรียงจากธรรมบรรยายพิเศษ เมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๔
44444
(3 votes)
Buddhism_Asia.pdf
Buddhism_Asia.pdfพระพุทธศาสนาในอาเซีย2303 viewsโดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)

... ปราชญ์ทั้งหลายกล่าวว่า พระพุทธศาสนาไม่สูญสิ้นไปจากประเทศอินเดีย เพราะสิ่งที่พระพุทธศาสนาสร้างขึ้นแล้วในประเทศอินเดีย ก็ยังคงอยู่ในประเทศอินเดีย ในรูปศิลปะ, โบราณคดี วัฒนธรรมต่างๆ ที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน ส่วนในด้านหลักธรรมก็เป็นเครื่องปรับปรุงขัดเกลา และเป็นแบบอย่างที่ทำให้ศาสนาฮินดูิซึ่งเจริญมาถึงปัจจุบันกลายรูปไปในทางที่ประณีตขึ้น เช่น เลิกการบูชายัญ มีหลักศีลธรรมเด่นชัดขึ้น มีหลักปรัชญาที่ลึกซึ้งขึ้น ด้วยวิธีดึงเอามาจากพุทธศาสนาเท่าที่เป็นประโยชน์แก่ตน ดังนี้เป็นต้น
44444
(14 votes)
228 files on 23 page(s) 13