Buddhist eLibrary - An Online Digitl Resource Library Home :: Login
 
 
Home About Contact Admin Choose a language
eBook Library Image Library Audio Library Video Library
 
 
พันธมิตร
Buddhist eLibrary Feature: Buddhist Studies
การเชื่อมโยง
exabytes network
Social Bookmarks
Last additions
Love_Wisdom.pdf
Love_Wisdom.pdfLove of Wisdom1641 viewsBy Prof.Dr.Somparn Promta

Love of Wisdom is a book about an introduction to philosophy. It written by Prof.Dr. Somparn Promta from department of Philosophy, Chulalongkorn University.
Apr 27, 2011
Scream_at_Night.pdf
Scream_at_Night.pdfเสียงหวีดร้องยามค่ำคืน1862 viewsโดย ศ.ดร.สมภาร พรมทา

หนังสือ "เสียงหวีดร้องยามค่ำคืน"เป็นนวนิยายที่ประพันธ์โดย ศ.ดร.สมภาร พรมทา ซึ่งเป็นนวนิยายเรื่องแรกในชีวิตของผู้ประพันธ์
Apr 27, 2011
Buddhist_Bioethics.pdf
Buddhist_Bioethics.pdfเกิดแก่เจ็บตาย1899 viewsโดย ศ.ดร.สมภาร พรมทา

หนังสือ "เกิดแก่เจ็บตาย" ซึ้งประพันธ์โดย ศ.ดร.สมภาร พรมทา ได้ให้ทัศนะทางชีวจริยศาสตร์ของพุทธศาสนา ซึ่งในหนังสือประกอบไปด้วย พุทธจริยศาสตร์สองระบบ จริยธรรมสำหรับบุคคล จริยธรรมสำหรับสังคม เกิดแก่เจ็บตาย และคุณค่าของชีวิตมนุษย์
Apr 27, 2011
Atta_Anatta.pdf
Atta_Anatta.pdfเพื่อความเข้าใจปัญหาเรื่อง อัตตา-อนัตตา1945 viewsโดย ศ.ดร.สมภาร พรมทา

หนังสือ "เพื่อความเข้าใจปัญหาเรื่องอัตตา-อนัตตา" ซึ้งประพันธ์โดย ศ.ดร.สมภาร พรมทา นี้ เมื่อปลายฤดูฝน ๒๕๕๓
Apr 27, 2011
Our_Root_is_Suffering.pdf
Our_Root_is_Suffering.pdfรากเหง้าเราคือทุกข์2120 viewsโดย ศ.ดร.สมภาร พรมทา

หนังสือ "รากเหง้าเราคือทุกข์" พินิจคำสอนเรื่องทุกข์ในพุทธศาสนาผ่านแนวคิดของชาร์ลล์ ดาร์วิน
Apr 27, 2011
Mahanikai_Dhammyuttika.pdf
Mahanikai_Dhammyuttika.pdfมหานิกาย -ธรรมยุต: ความขัดแย้งภายในคณะสงฆ์ไทย2999 viewsโดย กระจ่าง นันทโพธิ

หนังสือ "มหานิกาย-ธรรมยุต" กล่าวถึงความขัดแย้งภายในของคณะสงฆ์ไทยฯ เป็นหนังสือบันทึกถึงการก่อกำเนิดและความเป็นมาของคณะธรรมยุต หรือธรรมยุตนิกาย และความแตกแยกภายในสังฆมณฑลอันเนื่องมาแต่การอุบัติขึ้นของคณะธรรมยุต
Apr 20, 2011
Buddhism_Thai_King.pdf
Buddhism_Thai_King.pdfพระพุทธศาสนากับพระมหากษัตริย์ไทย1732 viewsโดย เสทื้อน ศุภโสภณ

หนังสือเล่มนี้ ผู้ประพันธ์ ได้ใช้เวลาค้นคว้าสอบสวนจากเอกสารประวัติศาสตร์ เริ่มต้นแต่ พุทธศาสนาเข้ามาสู่ประเทศไทย และองค์พระมหากษิตริย์ของไทยทรงเสื่อมใส ทะนุบำรุงพุทธศาสนา โดยแบ่งเป็น 4 สมัย คือ สมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ต่อมา สมัยกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
Apr 20, 2011
Comparative_religion.pdf
Comparative_religion.pdfศาสนาเปรียบเทียบ3687 viewsโดย เสฐียร พันธรังษี

ศาสนาเปรียบเทียบ เป็น วิทยาการว่าด้วยศาสนา เป็นวิทยาการพื้นฐานแห่งวิทยาการทั้งปวง การศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ มิได้มุ่งให้ศึกษาเพื่อให้ปฏิบัติธรรมในศาสนานั้นๆ เพื่อให้เข้าถึงอาณาจักรของพระเจ้า เพื่อให้ถึงซึ่งความหลุดพ้น หรือเพื่อให้บรรลุถึงซึ่งนิพพาน แต่ประการใด หากมุ่งเพื่อให้เข้าใจสังคมมนุษย์ ให้รู้จักจิตใจมนุษย์ ในฐานะนักสังคมตามแบบปฏิบัติแห่งศาสดาผู้ประกาศศาสนานั้นๆ ดังนั้นการศึกษาศาสนาเปรียบเทียบ จึงมุ่งหมายเพียงเพื่อให้รู้จักและเข้าใจฐานะที่เราอยู่ในสังคมของมนุษย์เป็นสำคัญ
Apr 20, 2011
C_religion.pdf
C_religion.pdfศาสนาปัจจุบัน2118 viewsโดย ดร. จินดา จันทร์แก้ว

เหตุที่หนังสือนี้ใช้ชื่อว่า "ศาสนาปัจจุบัน" เพราะเป็นผลมาจากการปรับปรุงแนวคำบรรยายวิชาศาสนาปัจจุบัน ในคณะพุทธศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดยมีลักษณ์มุ่งสู่ประเด็นสำคัญๆ ในแต่ละศาสนามากกว่าที่จะให้รายละเอียดอย่างวิจิตรพิสดาร โดยเฉพาะต้องการเน้นให้เห็นบทบาทหรือสภาพปัจจุบันของแต่ละศาสนา
Apr 20, 2011
Buddhism_education.pdf
Buddhism_education.pdfพระพุทธศาสนากับการศึกษา2178 viewsโดย อาจารย์สนิท ศรีสำแดง

การศึกษาเชิงพุทธ เป็นการศึกษาเพื่อเปิดตา คือ ปัญญา ของชาวโลก ให้มองเห็นแสงสว่างด้วยตนเขาเอง ผู้สอนเป็นเพียงผู้บอกทางให้ และจัดลำดับข้อมูลให้เป็นระบบ ส่วนความรู้เป็นหน้าที่ของผู้เรียนที่จะได้จากแหล่งข้อมูลนั้นโดยการคิดอย่างลึกซึ้ง ภายในกรอบก่อนแล้วค่อยๆ ขยายฐานการเรียนรู้ให้ไกลออกไป จนถึงขั้นเกิดความรู้ เกิด เกิดญาณ และความสว่างในเรื่องที่ไม่เคยได้ยิน ได้ฟัง ได้ศึกษาจากใคร จากแหล่งใดมาก่อน เป็นความคิดใหม่
Apr 20, 2011
516 files on 52 page(s) 35